ข้ามไปยังเนื้อหา

ข้ามไปยังสารบัญ

จดหมายฉบับที่สองถึงคริสเตียนในเมืองโครินธ์

บท

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

ใจความสำคัญ

  • 1

    • คำ​ทักทาย (1, 2)

    • พระเจ้า​ให้​กำลังใจ​เมื่อ​เจอ​ความ​ยาก​ลำบาก (3-11)

    • เปาโล​เปลี่ยน​แผนการ​เดิน​ทาง (12-24)

  • 2

    • เปาโล​อยาก​ให้​พี่​น้อง​ดีใจ (1-4)

    • คน​ที่​ทำ​ผิด​ได้​รับ​การ​อภัย​และ​ถูก​รับ​กลับ (5-11)

    • เปาโล​อยู่​ที่​เมือง​โตรอัส​และ​แคว้น​มาซิโดเนีย (12, 13)

    • งาน​รับใช้​เป็น​เหมือน​ขบวน​แห่​ฉลอง​ชัย​ชนะ (14-17)

      • ไม่​ใช่​คน​เร่​ขาย​คำ​สอน​ของ​พระเจ้า (17)

  • 3

    • หนังสือ​แนะ​นำ​ตัว (1-3)

    • ผู้​รับใช้​ตาม​สัญญา​ใหม่ (4-6)

    • สัญญา​ใหม่​มี​รัศมี​ยิ่ง​ใหญ่​กว่า (7-18)

  • 4

    • แสง​ของ​ข่าว​ดี (1-6)

      • ใจ​ของ​คน​ที่​ไม่​เชื่อ​มืด​ไป (4)

    • ภาชนะ​ดิน​ที่​ใส่​ของ​มี​ค่า (7-18)

  • 5

    • สวม​ใส่​ร่าง​กาย​สำหรับ​สวรรค์ (1-10)

    • งาน​รับใช้​ช่วย​คน​ให้​คืน​ดี​กับ​พระเจ้า (11-21)

      • คน​ที่​ถูก​สร้าง​ขึ้น​ใหม่ (17)

      • ทูต​ที่​ทำ​หน้า​ที่​แทน​พระ​คริสต์ (20)

  • 6

    • ทำ​ตาม​จุด​มุ่ง​หมาย​ของ​ความ​กรุณา (1, 2)

    • เปาโล​อธิบาย​งาน​รับใช้​ของ​เขา (3-13)

    • อย่า​มี​ส่วน​ร่วม​กับ​คน​ที่​ไม่​เชื่อ (14-18)

  • 7

    • ชำระ​ตัว​เรา​ให้​สะอาด (1)

    • พี่​น้อง​โครินธ์​ทำ​ให้​เปาโล​มี​ความ​สุข (2-4)

    • ทิตัส​กลับ​มา​เล่า​เรื่อง​ดี ๆ (5-7)

    • ความ​เสียใจ​และ​การ​กลับ​ใจ​ที่​พระเจ้า​พอ​ใจ (8-16)

  • 8

    • การ​บริจาค​เพื่อ​คริสเตียน​ใน​ยูเดีย (1-15)

    • ทิตัส​จะ​ไป​เมือง​โครินธ์ (16-24)

  • 9

    • น้ำใจ​ของ​การ​ให้ (1-15)

      • พระเจ้า​รัก​คน​ที่​มี​ความ​สุข​กับ​การ​ให้ (7)

  • 10

    • เปาโล​พูด​ปก​ป้อง​งาน​รับใช้​ของ​เขา (1-18)

      • อาวุธ​ของ​เรา​ไม่​ใช่​แบบ​โลก (4, 5)

  • 11

    • เปาโล​กับ​อัครสาวก​สุด​วิเศษ (1-15)

    • ความ​ลำบาก​ที่​เปาโล​เจอ​ใน​ฐานะ​อัครสาวก (16-33)

  • 12

    • นิมิต​ที่​เปาโล​เห็น (1-7​ก)

    • ‘หนาม​ใน​ร่าง​กาย’ ของ​เปาโล (7​ข-10)

    • ไม่​ด้อย​กว่า​อัครสาวก​สุด​วิเศษ (11-13)

    • เปาโล​เป็น​ห่วง​พี่​น้อง​โครินธ์ (14-21)

  • 13

    • คำ​เตือน​และ​คำ​แนะ​นำ​ปิด​ท้าย (1-14)

      • “คอย​ตรวจ​สอบ​ตัว​เอง” (5)

      • ปรับ​ความ​คิด​และ​คิด​ให้​สอดคล้อง​กัน (11)